Big Question (คำถามหลัก) : ฟันมีความสำคัญอย่างไร ? เราจะทำอย่างไรจึงจะมีสุขภาพฟันที่ดี?
ภูมิหลังของปัญหา : ฟันเป็นอวัยวะสำคัญของร่างกายและเป็นส่วนประกอบสำคัญของใบหน้า
คนเราใช้ฟันสำหรับบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ใช้ในการออกเสียงให้ชัดเจน
และช่วยทำให้ใบหน้าของเราดูสวยงาม ฟันและเหงือกถ้าไม่ดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีจะเกิดเป็นปัญหาขึ้นได้กับคนทุกวัย
โดยเฉพาะในวัยเด็กเล็ก
นับเป็นเรื่องยากเนื่องจากเด็กอาจจะไม่สามารถดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเองได้ดี
เท่าที่ควร เช่น การแปรงฟันที่ไม่ถูกวิธี การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม จำพวกน้ำอัดลม
ขนมหวาน ลูกอม ฯลฯ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดปัญหาโรคฟันผุ ส่งผลหระทบต่อสุขภาพร่างกายและพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมาก
ดังนั้นการดูแลสุขภาพฟันของเด็กจึงจำเป็นต้องได้รับความเอาใจใส่จากผู้ปกครอง
ในการสร้างเสริมทัศนคติที่ดีและการปลูกฝังพฤติกรรมต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับการดูแลสุขภาพฟันตั้งแต่ในวัยเด็ก
อีกทั้งเด็กๆควรได้เรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาฟันและเหงือกให้มีสุขภาพดี
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “แมงกินฟัน”
ระดับชั้นอนุบาล 2 (Quarter 1) ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2558
week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
25-29 พ.ค.58
|
โจทย์ :
- สร้างแรงบัลดาลใจ/สร้างฉันทะในการเรียนรู้
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
Key Questions
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร? ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้
?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่อยากเรียนรู้ ใน Q.1/58
Blackboard Share : ชื่อ หน่วย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอการ์ตูน“การผจญภัยในอาณาจักรฟัน”
- บัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานการออกเสียง เริ่มจาก ฐานคอ (ก ข ฃ ค ฅ
ฆ ง ห อ ฮ)
|
-
ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะของอวัยวะในช่องปากของตนเองโดยการส่องกระจก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร?” “นักเรียนมีฟันกี่ซี่
และเคยฟันหักหรือหลุดออกไปบ้างหรือไม่ เพราะเหตุใด?”
-
ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
“การผจญภัยในอาณาจักรฟัน”
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร?” “ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร?”
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง เริ่มจาก ฐานคอ
(ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะภายในช่องปากที่สำคัญต่อการออกเสียง
- ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานคอ คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ขณะที่เราออกเสียงตามตัวอักษร
รู้สึกอย่างไร ?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าชื่อ หน่วย ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับการดู
คลิปวีดีโอการ์ตูน เรื่อง “การผจญภัยในอาณาจักรฟัน”
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตั้งชื่อหน่วย
-
แสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมการฝึกออกเสียงพยัญชนะภาษาไทย
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปันดินน้ำมันตัวละครที่ชอบ
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
- สามารถออกเสียงตัวพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
ฐานคอ (ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ) ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป วีดีโอ รวมทั้งสามารถ เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
1-5 มิ.ย.58
|
โจทย์ :
สิ่งที่รู้แล้วลิส่งที่อยากเรียนรู้
Key Questions
นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับฟัน ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
Think Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Black board Share :สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Wall Thinking
: วาดภาพรูปปากและฟัน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “ฟ.ฟัน”
- บัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานเพดาน (จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ)
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ฟ.ฟัน” ให้นักเรียนฟัง
- ครูให้นักเรียนสำรวจอวัยวะภายในช่องปากโดยสำรวจเป็นคู่
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร?” “ทำไมฟันของเพื่อนถึงเป็นเช่นนั้น?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับฟัน?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับฟัน?”
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานเพดาน (จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะภายในช่องปากที่สำคัญต่อการออกเสียง
- ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานเพดาน คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ขณะที่เราออกเสียงตามตัวอักษร
รู้สึกอย่างไร ?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมสำรวจอวัยวะในช่องปาก
-
พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้วและอยากเรียนรู้เกี่ยวกับฟัน
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่มเกม “ฟันใครเอ่ย”
- แสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมการฝึกออกเสียงพยัญชนะภาษาไทย
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งมีชีวิตที่มีฟัน
-
ปั้นดินน้ำมันรูปสิ่งมีชีวิตที่มีฟันและไม่มีฟัน
|
ความรู้ :
สามารถแสดงความคิดเห็น และอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และอยากเรียนรู้
โดยให้เหตุผล เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
- สามารถออกเสียงตัวพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
ฐานเพดาน (จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ) ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการการฟังนิทาน
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
8-12 มิ.ย. 58
|
โจทย์ :
โรคภายในช่องปาก
- ฟันผุ
- กลิ่นปาก
Key Questions
- ฟันผุเกิดจากอะไร และส่งผลต่อสุขภาพของเราอย่างไร?
-
ถ้าวันหนึ่งเราเกิดมาไม่มีฟันจะเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการทดลอง
Think Pair Share : การดูคลิปเจาะข่าวเด่น
“ภัยฟันผุ”
Black board Share : โรคภายในช่องปาก
Wall Thinking
: ประดิษฐ์พวง
กุญแจรูปปากจากผ้า
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปเจาะข่าวเด่น “ภัยฟันผุ”
- ภาพโปสเตอร์โรคภายในช่องปาก
เช่น ฟันผุ ฟันแตก ฟันเก ฟันซ้อน เลือดออกตามไรฟัน เหงือกอักเสบ ฯลฯ
- อุปกรณ์การทดลอง
“น้ำตาลในน้ำอัดลม” (น้ำอัดลม กระทะไฟฟ้า)
- รูปฟันจากแผ่นโฟม
(ฟันขาวแข็งแรง ฟันผุ หมึกสีดำ)
- บัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปเจาะข่าวเด่น
“ภัยฟันผุ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร ?” “ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ?”
“ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร ?”
-
ครูให้นักเรียนเล่นเกมจับคู่ภาพฟันกับอาหาร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ถ้าวันหนึ่งเราเกิดมาไม่มีฟันจะเป็นอย่างไร?”
-
ครูนำภาพโปสเตอร์โรคภายในช่องปากมาให้นักเรียนสังเกต เช่น ฟันผุ ฟันแตก ฟันเก
ฟันซ้อน เลือดออกตามไรฟัน เหงือกอักเสบ ฯลฯ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการ “นักเรียนเคยปวดฟันหรือไม่
อย่างไร?”
- ครูนำอุปกรณ์การทดลอง
“น้ำตาลในน้ำอัดลม” (น้ำอัดลม กระทะไฟฟ้า) มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร ?
คิดว่าจะนำมาทำอะไร ?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลอง
“น้ำตาลในน้ำอัดลม”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ถ้าเรากินน้ำอัดลมจะทำให้ฟันเป็นอย่างไร ?”
- ครูจำลองรูปฟันจากแผ่นโฟม
(ฟันแข็งแรง ฟันผุ หมึกสีดำ) มาให้นักเรียนสังเกตพร้อมเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับฟันผุ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ฟันผุเกิดจากอะไร
และส่งผลต่อสุขภาพของเราอย่างไร?”
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานปุ่มเหงือก (ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะภายในช่องปากที่สำคัญต่อการออกเสียง
- ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานปุ่มเหงือก คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ขณะที่เราออกเสียงตามตัวอักษร รู้สึกอย่างไร ?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวการดูคลิปเจาะข่าวเด่น
“ภัยฟันผุ” เกมจับคู่ภาพ
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้สังเกตเห็นจากภาพโปสเตอร์
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโรคภายในช่องปาก
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลอง “น้ำตาลในน้ำอัดลม”
ชิ้นงาน
- วาดภาพฟันกับอาหาร
- ประดิษฐ์พวงกุญแจรูปปากจากผ้า
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ
และนำมาปรับใช้ในเรื่องของการกินในชีวิตประจำวันได้
- สามารถออกเสียงตัวพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
ฐานปุ่มเหงือก (ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
ร ษ ฬ) ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน ดูคลิปวีดีโอ
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
15-19 มิ.ย. 58
|
โจทย์ :
โรคภายในช่องปาก
- ฟันแตก / หัก
- เหงือกอักแสบ
Key Questions
- ถ้าเราใช้ฟันกัดสิ่งที่แข็ง จะเป็นอย่างไร?
- ฟันแตกหรือฟันหักมีลักษณะเป็นอย่างไร
แล้วถ้าเรามีฟันแตกหรือฟันหัก จะทำอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมสำรวจฟันระหว่างเพื่อน
Think Pair Share : การดูคลิปวีดีโอเพื่อฟันที่คุณรัก ตอน
“ฟันแตก ฟันหัก”
Black board Share : ลักษณะของฟันแตก ฟันหัก
Wall Thinking
: วาดภาพฟันลักษณะฟันแตก หรือฟันหัก
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอเพื่อฟันที่คุณรัก
ตอน “ฟันแตก ฟันหัก”
- นิทานเรื่อง “ข้าวโพดฟันหลอ”
- เพลง “ฟ ฟันสวยจัง”
- แว่นขยาย
- บัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานฟัน (ด ต ถ ท ธ น ล ส)
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอเพื่อฟันที่คุณรัก
ตอน “ฟันแตก ฟันหัก”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร ?” “ฟันแตกหรือฟันหักมีลักษณะเป็นอย่างไร
แล้วถ้าเรามีฟันแตกหรือฟันหัก จะทำอย่างไร ?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ฟ ฟันสวยจัง”
- ครูให้นักเรียนสำรวจฟันตนเอง พร้อมกับเล่าเรื่องราวประสบการณ์ที่เคยฟันหัก
ฟันแตกให้เพื่อนและครูได้ฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมฟันถึงแตกและหักได้
เพราะอะไร ?”
-
ครูเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับฟันหักที่เกิดจากการวิ่งล้ม ให้กับนักเรียนได้ฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร ?”
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานฟัน (ด ต ถ ท ธ น ล ส) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะภายในช่องปากที่สำคัญต่อการออกเสียง
- ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานปุ่มเหงือก คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ขณะที่เราออกเสียงตามตัวอักษร รู้สึกอย่างไร ?”
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ข้าวโพดฟันหลอ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวการดูคลิปวีดีโอเพื่อฟันที่คุณรัก
ตอน “ฟันแตก ฟันหัก”
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้สังเกตเห็นจากการสำรวจฟัน
ชิ้นงาน
- วาดภาพฟันลักษณะฟันแตก หรือฟันหัก
- ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปฟันต่างๆ
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้เกิดฟันแตก/ฟันหัก
เหงือกอักเสบได้
- สามารถออกเสียงตัวพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
ฐานปุ่มเหงือก ( ด ต ถ ท ธ
น ล ส ) ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป
วีดีโอ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครูผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
22-26 มิ.ย. 58
|
โจทย์ :
ประเภทของฟัน
- ฟันน้ำนม
- ฟันแท้
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าฟันซี่แรกของเราเกิดขึ้นได้อย่างไร
- ทำไมเรียนว่าฟันน้ำนม และฟันน้ำนมมีกี่ซี่ ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเล่นเกม “ลำดับฟันน้ำนม”
Think Pair Share : ลักษณะของฟันน้ำนม/ฟันแท้
Black board Share :ความเหมือน ความต่างของฟันน้ำนม
และฟันแท้
Wall Thinking
: วาดภาพฟันน้ำนมของหนู
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “ฟ ฟันสวยจัง”
- นิทานเรื่อง “คุณฟองฟันหลอ”
- เกม “ลำดับฟันน้ำนม”
- ขนมหวาน ลูกอม น้ำอัดลมและผัก
ผลไม้ต่างๆ ฯลฯ
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ฟ ฟันสวยจัง”
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ฟันหนูอยู่ไหน”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าฟันซี่แรกของเราเกิดขึ้นได้อย่างไร?”
- ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มร่วมกันร่วมกันเล่นเกม
“ฟันน้ำนม”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมเรียกว่าฟันน้ำนม
และฟันน้ำนมมีกี่ซี่ ?”
- ครูให้นักเรียนสำรวจและนับจำนวนฟันน้ำนมภายในช่องปากของตนเอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าฟันของแต่ละคนมีจำนวนเท่ากันหรือไม่ เพราะอะไร?”
- ครูให้นักเรียนเลือกหยิบสิ่งที่ตนเองชอบทานมากที่สุดคนละ 1 อย่าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าสิ่งที่เราทานเข้าไป
จะทำให้ฟันน้ำนมของเราเป็นอย่างไร?”
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง ฐานริมฝีปาก (บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะภายในช่องปากที่สำคัญต่อการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานปุ่มเหงือก คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ขณะที่เราออกเสียงตามตัวอักษร รู้สึกอย่างไร ?”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “คุณฟองฟันหลอ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าฟันของคนกับสัตว์ต่างๆ
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวการดูคลิปวีดีโอเพื่อฟันที่คุณรัก
ตอน “ฟันแตก ฟันหัก”
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้สังเกตเห็นจากการสำรวจฟัน
ชิ้นงาน
- วาดภาพฟันน้ำนมของหนู
- ปั้นดินน้ำมันหมู่บ้านฟันน้ำนม
- ประดิษฐ์พวกกุญแจรูปฟัน
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับความเหมือน
ความต่างของฟันน้ำนมและฟันแท้ อีกทั้งดูแลรักษาสุขภาพฟันให้ดีได้
- สามารถออกเสียงตัวพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง
ฐานริมฝีปาก (บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ
ม ว) ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
6
29 มิ.ย. -3 ก.ค.58
|
โจทย์ :
โครงสร้าง
- ฟัน
- เหงือก
- เนื้อฟัน
- เคลือบฟัน ฯลฯ
Key Questions
ถ้าเราไม่มีเหงือกฟันจะเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
Think Pair Share :
โครงสร้างของฟัน
Black board Share : ภาพโครงสร้างของฟัน
Wall Thinking :
ปะติดภาพฟันของหนู
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์ คือ กระบะทราย
ภาพ
- คำคล้องจอง ฟ.ฟัน“
- นิทานเรื่อง “ฟ ฟันอาบน้ำ”
- บัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ เช่น กา ขา คน งา ฯลฯ
|
-
ครูนำแบบจำลองฟันมาให้นักเรียนสังเกตและได้สัมผัส
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าฟันมีลักษณะเป็นอย่างไร?”
- วิทยากรเล่าเกี่ยวกับโครงสร้างของฟันให้นักเรียนฟังร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“โครงสร้างของฟันประกอบด้วยอะไรบ้าง?”
- ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ คือ กระบะทราย
ใส่ส่วนต่างๆของฟันลงไป
- แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม
- นักเรียนร่วมกันต่อภาพจิ๊กซอโครงสร้างของฟัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้าเราไม่มีเหงือกฟันจะเป็นอย่างไร?”
- ครูเตรียมบัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ เช่น กา ขา คน งา ฯลฯ
- ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงตามคำศัพท์ที่เตรียมไว้ร่วมกันจนครบทุกตัวอักษร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำศัพท์แต่ละคำอ่านออกเสียงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจอง ฟ.ฟัน“
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้ฟังจากวิทยากร
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
ชิ้นงาน
- วาดภาพโครงสร้างของฟัน
- ปะติดรูปภาพฟันของหนู
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างของฟันได้
- สามารถอ่านคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ เช่น กา ขา คน งา ฯลฯ ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป วีดีโอ
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
7
6-10 ก.ค. 58
|
โจทย์ :
หน้าที่ของฟัน
Key Questions
ฟันมีความสำคัญอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
Think Pair Share : หน้าที่ของฟัน
Black board Share : หน้าที่ของฟัน
Wall Thinking
: นิทานเล่มเล็ก ฟ ฟันของเรา
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “ฟ ฟันของเรา”
- เพลง “ฟ ฟันสวยจัง”
- เมล็ดถั่วใส่ในถุงพลาสติก
- เมล็ดถั่ว
- แอปเปิ้ล ชมพู่ ละมุด ฯลฯ
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ฟ
ฟันของเรา”
-
ครูให้นักเรียนแต่ละคนสำรวจฟันของตนเอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดฟันมีความสำคัญอย่างไร?”
- ครูนำผลไม้ต่างๆ มาให้นักเรียนสังเกต
เช่น แอปเปิ้ล ชมพู่ ละมุด ฯลฯ
- ครูใช้คาถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร
และคิดว่าจะนำมาทำอะไร?”
“ผลไม้มีประโยชน์อย่างไร และมีรสชาติเป็นอย่างไร?”
- ครูให้นักเรียนจับคู่ 2 คนแล้วเลือกผลไม้ที่ตนเองชอบ 1 อย่าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะแบ่งผลไม้อย่างไร โดยที่ไม่ใช้มือ?”
- ครูนำเมล็ดถั่วที่มีเปลือกแจกให้นักเรียนแต่ละคน
คนละ 10 เม็ด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“เราจะนำเมล็ดถั่วออกจากเปลือกได้อย่างไร?”
- ครูเตรียมบัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ เช่น จาน ฉา ชา ซา ฯลฯ
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงตามคำศัพท์ที่เตรียมไว้ร่วมกันจนครบทุกตัวอักษร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำศัพท์แต่ละคำอ่านออกเสียงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ฟ ฟันสวยจัง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้ฟังจากวิทยากร
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
ชิ้นงาน
- นิทานเล่มเล็ก ฟ ฟันของเรา
- ปั้นดินน้ำมันรูปเมล็ดถั่วกับฟัน
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหน้าที่และเห็นความสำคัญของฟันได้
- สามารถอ่านคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ เช่น จาน ฉา ชา ซา ฯลฯ
ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
8
13-17 ก.ค. 58
|
โจทย์ :
การดูแลรักษา
- วิธีการแปรงฟัน
- การเลือกแปรงสีฟัน ยาสีฟัน
Key Questions
เราจะทำอย่างไรจึงจะมีสุขภาพฟันที่ดี?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
Think Pair Share : การดูแลรักษาฟัน
Black board Share : เสนอเมนูอาหาร
Wall Thinking
: ประดิษฐ์ที่เก็บแปรงสีฟัน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- แบบจำลองฟัน พร้อมแปรงสีฟัน
- คลิปวีดีโอการ์ตูน เรื่อง “ฟ ฟันสวยจัง”
- แปรงสีฟันแบบต่างๆ และยาสีฟัน
- นิทานเรื่อง “หนูนิดชอบทานผัก”
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“คุณฟองนักแปรงฟัน”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราจะทำอย่างไรจึงจะมีสุขภาพฟันที่ดี?”
- ครูนำแบบจำลองฟัน พร้อมแปรงสีฟัน มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้นักเรียนได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราควรแปรงฟันวันละกี่ครั้ง เพราอะไร?”
- นักเรียนแต่ละคนออกมาทดลองการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน เรื่อง “ฟ ฟันสวยจัง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร” “นักเรียนมีวิธีเลือกแปรงสีฟันให้เหมาะกับช่องปากของเราอย่างไร?
- ครูเตรียมบัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ เช่น รา ณา ฑา ฯลฯ
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงตามคำศัพท์ที่เตรียมไว้ร่วมกันจนครบทุกตัวอักษร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำศัพท์แต่ละคำอ่านออกเสียงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “หนูนิดชอบทานผัก”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้ฟัง
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟัน
- แสดงความคิดเห็นเมนูอาหาร
ชิ้นงาน
- เขียน web การดูแลรักษาฟัน
- ประดิษฐ์ที่เก็บแปรงสีฟัน
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟัน
เช่น การแปรงฟันถูกวิธี ได้
- สามารถอ่านคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ เช่น รา ณา ฑา ฯลฯได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป
วีดีโอ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
20-24 ก.ค. 58
|
โจทย์ :
การบำรุงรักษา
- ดื่มน้ำสะอาด
- การเลือกรับประทานอาหาร
Key Questions
เราจะมีวิธีบำรุงรักษาฟันให้แข็งแรงได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
Think Pair Share : การบำรุงรักษาฟัน
Black board Share : เสนอเมนูอาหาร
Wall Thinking
: web การบำรุงรักษาฟัน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “ ฟ ฟันอาบน้ำ” “นมจืด
อร่อยจัง”
- บัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ด ต ถ ท ธ น ล ส เช่น รา ดา ตา ถา นา ฯลฯ
- ภาพอาหารหลัก 5
หมู่ คือ (โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินจากผัก วิตามินจากผลไม้)
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง “นมจืด
อร่อยจัง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราจะมีวิธีบำรุงรักษาฟันให้แข็งแรงได้อย่างไร?”
- ครูนำภาพอาหารหลัก 5 หมู่ คือ (โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินจากผัก
วิตามินจากผลไม้) มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมเราต้องรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพราอะไร?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนรู้จักอาหารอะไรบ้าง
ทำจากอะไร?”
- ครูเตรียมบัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ด ต ถ ท ธ น ล ส เช่น รา ดา ตา ถา นา ฯลฯ
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงตามคำศัพท์ที่เตรียมไว้ร่วมกันจนครบทุกตัวอักษร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำศัพท์แต่ละคำอ่านออกเสียงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ ฟ ฟันอาบน้ำ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้ฟัง
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาฟัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารและขั้นตอนการทำ
ชิ้นงาน
- เขียน web การบำรุงรักษาฟัน
- ประกอบอาหารเมนู “เมี่ยงผลไม้”
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยบำรุงรักษาฟันให้แข็งแรงได้
- สามารถอ่านคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
ด ต ถ ท ธ น ล ส เช่น รา ดา ตา ถา
นา ฯลฯ
ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทานและภาพโปสเตอร์อาหาร
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
10
27-29 ก.ค. 58
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
Key Questions
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “แมงกินฟัน”?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ หน่วย “แมงกินฟัน”
Blackboard Share : สิ่งที่ได้เรียนในหน่วย
“แมงกินฟัน”
Think Pair Share :สิ่งที่อยากเรียนรู้ผ่านมาในหน่วย
“แมงกินฟัน”
Round Rubin :การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
Mind Mapping : วาดสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว เช่น บา ป่า ผา ฝา ฯลฯ
|
- ครูเตรียมบัตรคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว เช่น บา ป่า ผา
ฝา ฯลฯ
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงตามคำศัพท์ที่เตรียมไว้ร่วมกันจนครบทุกตัวอักษร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำศัพท์แต่ละคำอ่านออกเสียงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?”
-
ครูทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?”
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ
“รักฟัน”
ชิ้นงาน
วาดภาพสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหน่วย
“แมงกินฟัน”
|
ความรู้ :
- สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “แมงกินฟัน” เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เห็นคุณค่าและสามารถเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
- สามารถอ่านคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว เช่น บา ป่า ผา
ฝา ฯลฯ
ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี
กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนอยากเรียนรู้
-
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม
ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ
ทักษะการสังเกต
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส
ในการสำรวจอวัยวะภายในช่องปาก
ทักษะการคาดเดา
สามารถคาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “แมงกินฟัน” ระดับชั้นอนุบาล 2 (Quarter 1) ภาคเรียนที่ 1
/ 2558
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1.สร้างแรงบันดาลใจและการสร้างฉันทะการเรียนรู้
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
2. สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
3.โรคภายในช่องปาก
- ฟันผุ
- กลิ่นปาก
- ฟันแตก / หัก
- เหงือกอักแสบ
4.ประเภทของฟัน
- ฟันน้ำนม
- ฟันแท้
5.โครงสร้าง
- ฟัน
- เหงือก
- เนื้อฟัน
- เคลือบฟัน ฯลฯ
6.หน้าที่ของฟัน
7.การดูแลรักษา
- วิธีการแปรงฟัน
- การเลือกแปรงสีฟัน ยาสีฟัน
8.การบำรุงรักษา
- ดื่มน้ำสะอาด
- การเลือกรับประทานอาหาร
9.สรุปองค์ความรู้
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้,
สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ
กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ,
ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ,
เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย
และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 รักการออกกำลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้
ตัวบ่งชี้ที่7.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 มีความกตัญญูกตเวที
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 สนใจและกระตือรือร้นในการทำงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ทำงานจนสำเร็จและภูมิใจในผลงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
มาตรฐานที่ 6ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และสนุกกับการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว
มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา
และคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 มีจินตนาการ และ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีทักษะในการสื่อสาร
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีทักษะในการสังเกตและสำรวจ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.5 มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์
ตัวบ่งชี้ที่ 5.6 มีทักษะในเรื่องจำนวน ปริมาณ น้ำหนัก และการกะประมาณ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.7 เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 รู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Share ผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์
เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
-
ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่
มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร
ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
-
ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
-
ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
||
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู
เพื่อนและผู้อื่น
|
||
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก
ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “แมงกินฟัน”
กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ร้อยลูกปัด
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี
- เล่นทรายเปียก
/ ทรายแห้ง
- ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
- พับกระดาษ
- ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
- ประกอบอาหาร
- เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
-
เล่นกีฬา เกมการละเล่น เช่น การโยน-รับลูก บอล กลิ้งบอล
การเดาะลูกบอล
-
การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น
เคลื่อนไหวประกอบเพลง ประกอบคำบรรยาย
เป็นต้น
-
กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา ก้าวกระโดด
-
การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
-
การเดิน การวิ่ง การกระโดด คลาน
-
การดึง การดัน การจับ การขว้าง การเตะ เคาะจังหวะ ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา
-
การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ เช่น เสียง ลักษณะอาการ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
-
การขีดเขียน การวาดตามแบบ
-
การร้อยลูกปัด ร้อยมาลัยดอกไม้
-
การต่อบล็อก ต่อเรโก้
-
การระบายสีไม้ สีน้ำ
-
การตัดกระดาษ
-
การหยิบจับสิ่งของ
-
การเล่นเกม กีฬา เช่น การรับ-การโยน
-
การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า ถุงเท้า
เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
-
การร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง
การทำท่าทาง
ประกอบตามจังหวะดนตรี /คำบรรยาย
-
การฟังนิทาน การเล่านิทาน
การแต่งประโยค การพูดถ่ายทอดเรื่องราว
-
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น เล่นกับเพื่อน
เล่นกับครู เล่นเครื่องเล่น เช่น
กระบอกไม้ไผ่ เครื่องเคาะจังหวะ
เครื่องตี ฯลฯ
-
การเล่นมุมบล็อก การเล่นมุมบทบาทสมมติ
การเก็บของเล่น
-
การแบ่งปัน การรอคอยตามลำดับก่อน
หลัง
-
การบอกความรู้สึก ความต้องการ
การรับรู้อารมณ์ ความรู้สึกของผู้อื่น
-
การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เช่น
การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า ถุงเท้า การอาบน้ำ
แปรงฟัน เป็นต้น
-
การรู้บทบาทหน้าที่
- การเป็นผู้นำ –
ผู้ตามที่ดี
- การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
-
การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ธรรมชาติ
-
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ภาษาสื่อความหมาย และความคิด
เช่น การพูด แสดงท่าทางประกอบ
-
การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น สี
ขนาด รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก กลิ่น แบบรูปความสัมพันธ์
การจำแนก การจัดกลุ่ม การเปรียบเทียบ เรียงลำดับ ฯลฯ
-
การจดจำชื่อ รูปร่างลักษณะ ความเหมือน ความแตกต่างของสิ่งต่างๆ
รอบตัว
-
การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ได้แก่
ตาดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส
และกายสัมผัส
-
การสนทนาถาม-ตอบ จากสิ่งที่ได้ฟัง ได้ดูและปฏิบัติ เช่น นิทาน
เรื่องเล่า ดูคลิปวีดีโอ เพลง คำคล้องจอง เกมการศึกษา
ฯลฯ
-
การอธิบายให้เหตุผล การแก้ปัญหา การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
-
การสื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ฯลฯ
- การทดลอง เช่น
การตั้งคำถาม การสังเกต การให้เหตุผล การสรุป ฯลฯ
|
||
Web เชื่อมโยงหน่วย
“แมงกินฟัน”
กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น
เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง
คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
-
อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที
ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- ก่านสะกดคำง่ายๆ เช่น
แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก
การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สี
น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา
/ การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น
Sit down ,
Stan up เป็นต้น
- ฟัง
เข้าใจความหมาย
สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name ?
My name is…….. What
is this ? It’s a…….
What
do like ? I
like ……………
- ร้องเพลง
เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เกี่ยวกับอวัยวะ
เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต
ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน
A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส
ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
-
เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ
ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ
/ นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตารางวิเคราะห์เชื่อมโยงหน่วยสาระที่ควรเรียนรู้
ตัวเรา
เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด ปลอดภัย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ
ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1.หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
4. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
5. หน่วยอาหาร
7. หน่วยตาวิเศษ
8. หน่วยใครเอ่ย
9 .หน่วย ฟ.ฟัน
10. หน่วยฤดูกาล
11. หน่วยน้ำหนัก
12. หน่วยพืช
13. หน่วยหนูทำได้
14.หน่วยวันสำคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันแม่ ฯลฯ
|
บุคคลและสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยครอบครัว
2. หน่วยโรงเรียน
3. หน่วยชุมชน
4. หน่วยบุคคลสำคัญ
5. หน่วยเมืองไทย
6. หน่วยวันสำคัญ
เช่น วันพ่อ วันแม่ วันครู วันเด็ก
ฯลฯ
7. หน่วยเพื่อนบ้าน
8. หน่วยอาชีพ
9. หน่วยอาเซียน
10. หน่วยท่องเที่ยว
11. หน่วยนิทาน
12. หน่วยบ้านของเรา
13.หน่วยนักประดิษฐ์
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ
เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ฯลฯ
หน่วยสาระ
1. หน่วยสัตว์
2. หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4. หน่วยพืช ผัก
ผลไม้
5. หน่วยดอกไม้
6. หน่วยแมลง
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยไผ่
11. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
12. หน่วยอาหาร
13.หน่วยรุ้งกินน้ำ
|
สิ่งต่างๆ
รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด รูปร่าง รูปทรง
น้ำหนัก ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว
สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ
และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยการคมนาคม
2. หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6. หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7. หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
9. หน่วยอากาศ
10. หน่วยกลางวัน กลางคืน
11. หน่วยขยะ
12. หน่วยฤดูกาล
13. หน่วยนักประดิษฐ์
14. หน่วยนิทาน
|